วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
เวลาเรียน 14.10 – 17.30 น.
เวลาเข้าสอน 14.10 น. เวลาเข้าเรียน 14.00 น. เวลาเลิก 17.30 น.
การนำเสนอสื่อคณิตศาสตร์
ชื่อ สื่อ ตัวเลขมหาสนุก
วิธีการเล่น
1 นำวงกลมสีๆๆมาใส่ในแท่นจำนวนให้ถูกต้องและถูกสี
2.และนำตัวเลขสี่เหลี่ยมมาเรียงตามจำนวนให้ถูกต้อง
ประโยนช์ที่ได้รับ
ได้ฝึกกล้ามเนื้อเล็กกล้ามเนื้อใหญ่ให้มีความแข็งแรง
และฝึกการนับเลขคณิตศาสตร์
ผลที่ได้รับจากการนำสื่อไปให้เด็กใช้ทดลองในการเล่นเด็กอายุ ระหว่าง 3 ปี กับเด็กอายุ 6ปี
น้องสามขวบเล่นได้แต่นานกว่าจะเล่นเสร็จเพราะว่ามีอุปสรรค์แท่นที่ใส่จำนวนความยาวไม่พอ ทำให้น้องใส่เข้าไปลำบาก
น้องหกขวบสามารถเล่นได้นับตัวเลขได้ใช้เวลาในการนับน้อยกว่าน้องที่อายุ3ขวบ
สื่อของเพื่อน
วิธีการเล่นครูใช้คำถามกับเด็กว่า อะไรที่เหมือนหรือคล้ายกัน แล้วจับคู่ให้ถูกต้อง
ประโยชน์ของสื่อ
เด็กได้เรียนรู้การเปลี่ยนแปลงของรูปเรขาคณิตที่เกิด จากการตัด ต่อเติม
เด็กได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์รากรูปเรขาคณิต
เด็กได้นำสิ่งต่างๆรอบตัวมาเชื่อมโยงกับวิชาคณิศาสตร์ผ่านการเล่น
บันทึกอนุทิน
ครั้งที่ 7
วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วันที 15 มกราคม 2557
เวลาเรียน 14.10 – 17.30 น.
เวลาเข้าสอน 14.10 น. เวลาเข้าเรียน 14.00 น. เวลาเลิก 17.30 น.
ความรู้ที่ได้รับ ...
วันนี้อาจารย์ให้ทำงาน 2 ชิ้น
- งานชิ้นแรก อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 3 กลุ่ม แล้วให้ตัวแทนกลุ่มออกไปจับฉลาก เมื่อทำเสร็จแล้ว
ให้ออกไปนำเสนอ
- งานชิ้นที่ 2 อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 - 6 คน ให้ทำสื่อคณิตศาสตร์เกี่ยวกับรูปเรขาคณิต
นำเสนองาน
ผลงานที่นำเสนอ
กลุ่มนำเสนอของเพื่อนๆๆๆ
งานนี้ชื้นที่2 ทำสามคน
ชิ้นนี้เป็นการเรียงพีชคณิตของเด็กปฐมวัย
วันอังคารที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2557
บันทึกอนุทินครั้งที่ 6
บันทึกอนุทิน
ครั้งที่ 6
วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วันที 10 มกราคม 2557
เวลาเรียน 14.10 – 17.30 น.
เวลาเข้าสอน 14.10 น. เวลาเข้าเรียน 14.00 น. เวลาเลิก 17.30 น.
ความรู้ที่ได้รับ
1.เด็กที่จบอนุบาล และเตรียมพร้อมที่จะเข้าประถมต้องมีความรู้เบื้องต้นดังนี้ หรืออาจ
จะมีมากว่านี้ก้อได้
1 นับจำนวน 1-20 ได้
2 เข้าใจหลักการในการนับ
3 รู้จักรตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย
4 รู้ค่าของจำนวน
5 เปรียบเทียบ เรียงลำดับได้
6 การรวมและการแยกกลุ่มได้
2.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงิน และเวลา
เด็กอนุบาล เขาจะรู้คุณค่าของเงิน เช่น เด็กจะชอบเงินแบงค์ มากกว่าเงินเหรียน
เพราะในความคิดของเขาเงินแบงค์มีคุณค่ามากกว่าเงินเหรียน
ตัวอย่างเช่น
เด็กมีแบงค์พัน เขาสามารถบอกกับคุณครูได้ว่า "วันนี้หนูมีเงินนหนูจะไปซื้อรถให้คุณแม่"
แต่ถ้าเขามีเงินแค่ 1 บาท เขาก้อจะไม่พูดแบบนี้
นี่คือความเข้าใจของเด็กปฐมวัย
1 เปรียบเทียบ เรียงลำดับ และวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตร
2 รู้จักรเงินเหรียนและธนบัตร
3 เข้าใจเกี่ยวกับเวลาและคำที่ใช้บอกเวลา
3. มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับเรขาคณิต
1 ตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง
2 รูปเรขาคณิต สามมิติ และสองมิติ สามมิติจับต้องได้ สองมิติจับต้องไม่ได้
4.มีความรู้ความเข้าใจในรูปแบบของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด สีที่สัมพันธ์ อย่างใดอย่าหนึ่ง
5.มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลและนำเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิง่ายๆ
6. มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็น
การวัดความยาวของเด็กปฐมวัย
พีชคณิตของเด็กปฐมวัย
บันทึกอนุทินครั้งที่ 5
บันทึกอนุทิน
ครั้งที่ 5
วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วันที 13 ธันวาคม 2556
เวลาเรียน 14.10 – 17.30 น.
วันศุกร์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2556
บันทึกอนุทินครั้งที่ 4
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วันที่ 6 ธันวาคม 2556
เวลาเรียน 14.10 – 17.30 น.
ครั้งที่ 4
วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วันที่ 6 ธันวาคม 2556
เวลาเรียน 14.10 – 17.30 น.
เวลาเข้าสอน 14.10 น. เวลาเข้าเรียน 14.00 น. เวลาเลิก 17.30 น.
ความรู้ที่ได้รับ
ดูการออกมานำเสนอของเพื่อนๆๆแต่ละกลุ่ม
กลุ่มที่ 1 จำนวน
การนำเสนอดี ข้อมูลครบถ้วน มีการสาธิตพฤติกรรมของเด็กปฐมวัย
ครวปรับปรุง ยังสื่อความหมายของการนำจำนวนไม่ถูก วัตถุประสงค์
เช่น การนับเลข ของสัปรด ต้องมีจำนวนสัปรดให้ครบตามจำนวน
กลุ่มที่ 2 การวัด
มีการนำเสนอข้อมูลตรงตามวัตถุประสงค์ มีการสาธิตการวัด
สูง ต่ำ
ครวปรับปรุง การรายงานงานข้อมูลน้อย มีการอ่านโพย
กลุ่มที่ 3 เรขาคณิต
มีการรายงานดี และสาธิตรูปทรงต่างให้เพื่อนๆได้มีส่วนร่วม
ในทำกิจกรรม และมีการร้องเพลงก่อนเข้าเนื้อหา
ครวปรังปรุง ไ่ม่ครวอ่าน่โพยในการบรรยาย
กลุ่มที่ 4 พีชคณิต
พยายามอธิบายควา้มหื่มายให้เ้พื่อนเข้าใจ
ครวปรับปรุง เนื้อหาของการนำเสนอให้สอดคล้องกับการนำเสนอ
กลุ่มที่ 5 การวิเคราห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สื่อความหมายให้เข้าใจง่าย
ผลการประเมินเพื่อนๆ แต่ละกลุ่ม
วันพุธที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
บันทึกอนุทิน ครั้งที่3
บันทึกอนุทิน
ครั้งที่ 3
วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วันที่ 22 พฤศจิกายน 2556
เวลาเรียน 14.10 – 17.30 น.
เวลาเข้าสอน 14.10 น. เวลาเข้าเรียน 14.00 น. เวลาเลิก 17.30 น.
ความรู้ที่ได้รับ
ได้รู้จุดมุงหมายในการที่จะสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
1 ทำให้เด็กมีความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาตร์ เช่น การรู้จักรคำศัพท์
2 เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศ่าสตร์ เช่น การบวก การลบ
3 ทำให้เด็กรู้และใช่กระบวนการหาคำตอบแบบแนวคิดใหม่
4 ให้เด็กฝึกฝนคณิตศาสตร์พื้นฐาน
5 ทำให้เด็กมีความเข้าใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์มากขึ้น
6 ส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบดั้วตัวเอง
การสังเกต
1 การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างใดหนึ่งหรือหลายอย่างในการเรียนรู้
2 โดยเข้าไปเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์อย่างมีจุดมุ่งหมาย
การจำแนกประเภท
1 การแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกณฑ์หรือการสร้างเกณฑ์ในการแบ่ง
2 เกณฑ์ในการจำแนกคือ ความเหมือน ความแตกต่าง และความสัมพัธ์
การจัดลำดับ
1 เป็นทักษะการเปรียบเทียบขั้นสูง
2 การจัดลำดับวัถุสิ่งหรือเหตุการณ์
การวัด
1 มีความสามารถในการอนุรักษ์
2 การวัดสำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่ อุณภูมิ
การนับ
1 เด็กชอบการนับแบบท่อจำโดยไม่รู้ความหมาย
2 การนับแบบท่องจำมีความหมายต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง
รูปทรงและขนาด
เด็กส่วนใหญ่จะมีความรู้เกี่ยวกับรูปทรงขนาดก่อนเข้าเรียน
ผลงาน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)